Bangkok
Budgeting

เปิดเผยอย่างโปร่งใสเพื่อใครๆ

ก็มีส่วนร่วมกับงบกรุงเทพฯได้

ร่วมพัฒนาโดย

hand

ทุกวันนี้เมืองที่เราใช้ชีวิต ยังมีหลายอย่างไม่ได้เป็นแบบที่เราวาดฝันไว้ใช่ไหม?

เราเองในฐานะประชาชนผู้เสียภาษีทางตรงและทางอ้อม ก็ควรได้ร่วมออกแบบการใช้งบประมาณของเมือง เพื่อสร้างเมืองในแบบที่เราต้องการได้

ถ้างั้นขอชวนมาลองเริ่มต้นที่เมืองหลวงอย่างกรุงเทพมหานครกันก่อนเลย!!

การสร้างเมืองปลอดภัย
การสร้างเมืองปลอดภัย
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมือง
การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมือง
การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัว
การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัว
การสร้างเมืองประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
การสร้างเมืองประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
การต่อยอดความเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจ
การต่อยอดความเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจ
การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหาร
การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหาร

ยุทธศาสตร์ด้าน

ประกอบด้วย มิติย่อย

(กด + เพื่ออ่านคำอธิบาย)

ซึ่งเป็นแผนพัฒนาที่กรุงเทพฯ ตั้งเป้าหมายไว้ เพื่อจะก้าวไปสู่การเป็น

“มหานครแห่งเอเชีย”

ภายในระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

2556

ออกแผนพัฒนา

กทม. 20 ปี ครั้งแรก

2561

ปรับปรุงแผนพัฒนา

กทม. 20 ปี ใหม่

Budget plan

เพื่อพัฒนาสู่ยุทธศาสตร์ 7 ด้าน มาดูกันว่ากรุงเทพฯ ใช้งบประมาณอย่างไร?

Budget folder

หมายเหตุ : งบที่ใช้ตามแผนยุทธศาสตร์ ไม่ใช่งบทั้งหมดของกรุงเทพฯ แต่เราโฟกัสเฉพาะส่วนนี้ เพราะเกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนและประชาชนมีส่วนร่วมได้มากที่สุด

งบยุทธศาสตร์ส่วนใหญ่ถูกใช้กับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืน

งบทั้งหมดในแต่ละปี

งบที่ใช้ตามแผนยุทธศาสตร์ 7 ด้าน

การสร้างเมืองปลอดภัย
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมือง
การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัว
การสร้างเมืองประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
การต่อยอดความเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจ
การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหาร
ไม่พบข้อมูล

5 อันดับหน่วยงานที่ได้รับงบปีล่าสุด (25[]) สูงที่สุด จาก 0 หน่วยงาน

แผนยุทธศาสตร์ 7 ด้าน

การสร้างเมืองปลอดภัย
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมือง
การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัว
การสร้างเมืองประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
การต่อยอดความเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจ
การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหาร
ไม่พบข้อมูล

หากไม่รู้ว่าจะเริ่มสำรวจการใช้งบจากตรงไหน ลองค้นหาด้วย คีย์เวิร์ดที่พบบ่อย ในชื่อและคำอธิบายรายการใช้งบ

ขนาดคำ = จำนวนที่พบ

proposed

ในปีต่อๆไป
กรุงเทพมหานครยังคงมุ่งพัฒนาและขับเคลื่อน
“ยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ด้าน” ให้เกิดขึ้นต่อไป

ถ้าบางส่วนของงบฯ
ที่คุณมีส่วนช่วยตัดสินใจให้ถูกใช้อย่างตรงจุดได้

คุณคิดว่าควรนำไปพัฒนากับเรื่องอะไรบ้าง?

10 โครงการที่ถูกโหวตมากที่สุด

ที่อยู่ใน

ทั้งหมด 0 คน

ร่วมส่งต่อโครงการที่อยากให้เกิดขึ้นในพื้นที่ของคุณ

ภาพปกเมื่อคุณแชร์เว็บไซต์นี้ :

Share
หรือร่วมกันติดแฮชแท็ก #BangkokBudgeting

ข้อมูลเพิ่มเติม

ทำความรู้จัก “งบประมาณแบบมีส่วนร่วม”?

คืออะไร ทำอย่างไร และตัวอย่างในประเทศอื่นๆ

งบประมาณแบบมีส่วนร่วม คืออะไร?

Participatory Budgeting (PB) หรือที่เรียกว่า งบประมาณแบบมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการหรือเครื่องมือทางการบริหารที่ให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมโดยตรงในการเข้าถึงทรัพยากรและตัดสินใจจัดสรรงบประมาณสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนเอง

    ทำอย่างไรจะเป็นงบประมาณแบบมีส่วนร่วม?

    ตาม citizenlab ได้อธิบายถึง 8 ขั้นตอนที่เป็นได้

    • 1. การวางรากฐาน ต้องวางแผนการมีส่วนร่วมของประชาชนแบบไหน
    • 2. ชี้แจงรายละเอียดให้ผู้เข้าร่วม ให้ประชาชนได้รับรู้เข้าใจตรงกัน
    • 3. สร้างวิธีการหรือเครื่องมือรวบรวมข้อมูล มีส่วนร่วมได้ง่าย
    • 4. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ โดยผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง
    • 5. แบ่งรูปแบบการมีส่วนร่วม ต้องแบ่งแยกการให้แสดงความคิดเชัดเจน
    • 6. ชี้แจงผลลัพธ์ที่ได้ สื่อสารให้ประชาชนทุกคนทราบ ว่าผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้อะไร
    • 7. แผนงาน โครงการ ได้รับงบอนุมัติและเกิดขึ้นจริง รัฐต้องเปิดเผย ‘อย่างโปร่งใสต่อสาธารณะ’
    • 8. ทำอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนให้เพิ่มขึ้นต่อไปอย่างต่อเนื่อง

    ตัวอย่างงบประมาณแบบมีส่วนร่วมที่เกิดขึ้นแล้ว

    • 1. Peñalolen, Chile เป็นการให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการจัดการงบฯ ในแพลตฟอร์มออนไลน์ ภายใต้โครงการ (ในชุมชนของฉัน ฉันตัดสินใจ!) ประชาชนสามารถระบุความต้องการของชุมชนได้
    • 2. Govanhill, Glasgow ดำเนินโครงการ ‘ความไม่เท่าเทียมทางสุขภาพ Equally Well ’ เป็นโครงการนำร่องเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในงบฯ
    • 3. Tower Hamlets, ‘You Decide!’ โครงการชื่อว่า ‘คุณตัดสินใจ’ ช่วยกำหนดรูปแบบและตรวจสอบสิ่งที่สำคัญที่ควรจัดในชุมชนเป็นอันดับแรกๆ
    • 4. Porto Alegre, BrazilI ให้คนยากจนและผู้ที่มักถูกกีดกันทางการเมือง เข้ามามีบทบาทด้วยจัดสรรงบประมาณได้มาสู่ส่วนที่จำเป็นหรือเหมาะสมมากที่สุด

    ตอนนี้กรุงเทพมหานครกำลังดำเนินการอะไรอยู่?

    คุยกับ “ผศ.ดร.ทวิดา กมลเวชช” ที่ปรึกษาเรื่องการจัดทำแผนพัฒนาของกรุงเทพมหานคร

    กรุงเทพมหานครมองเรื่องการมีส่วนร่วมโดยเฉพาะงบประมาณแบบมีส่วนร่วม อย่างไร??

    ตอนนี้กรุงเทพมหานคร กำลังดำเนินการอะไรอยู่??

    ประเทศไทย หากจะไปสู่งบประมาณ แบบมีส่วนร่วมได้ ควรเริ่มที่จุดไหน??